กลุ่มที่ 1 ความเสี่ยงต่ำ
65 คน
กลุ่มที่ 2 ความเสี่ยงปานกลาง
4 คน
กลุ่มที่ 3 ความเสี่ยงสูง
3 คน
กลุ่มที่ 4 มีโรคแทรกซ้อน
2 คน

จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ตำบล HT DM สัดส่วนกลุ่มเสี่ยง DM
วังตะกู
1
0
0
0
0
0
ลำประดา
364
65
65
4
3
2
รวม
365
65
65
4
3
2

64

การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

26

ภาวะแทรกซ้อนทางไต

64

ภาวะแทรกซ้อนทางตา

62

ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า

65

โรคหัวใจและหลอดเลือด

นิยาม DM

คำจำกัดความ การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์การประเมินผู้ป่วย จังหวัดพิจิตร

  • ผู้ป่วยเบาหวานที่มีผล LAB HbA1c < 7 % และ CBS < 180 mg% (Capillary Blood Sugar)
  • MAU (Microalbuminuria) < 30 mg/d และ eGFR >= 60 ml/min/1.73 m²
  • อัตราการลดลงของ eGFR < 7 ml/min/1.73 m²/year
  • ผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา No DR (Diabetic retinopathy)
  • Protective sensation ปกติ, Peripheral pulse ปกติ, ไม่พบแผลที่เท้า
  • HT (BP < 140/90 mmHg), Dyslipidemia (LDL < 100 mg%)

นิยาม HT

คำจำกัดความ การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์การประเมินผู้ป่วย จังหวัดพิจิตร

  • ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มีความดัน SBP ตั้งแต่ 130-139 หรือ DBP ตั้งแต่ 85-89

ปัจจัยเสี่ยงอื่น HT

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk factor)

  1. ระดับของ pulse pressure > 60 มม.ปรอท
  2. อายุ > 55 ปี ในเพศชาย หรือ > 65 ปีในเพศหญิง
  3. สูบบุหรี่
  4. ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ total cholesterol > 200 มก./ดล., LDL-C > 130 มก./ดล.
  5. HDL-C < 40 มก./ดล. ในเพศชายหรือ < 50 มก./ดล. ในเพศหญิง หรือระดับ triglyceride > 150 มก./ดล. FPG 100-125 มก./ดล.
  6. OGTT ผิดปกติ
  7. ประวัติการเกิด CVD ในบิดา มารดา หรือพี่น้องก่อนวัยอันควร
  8. อ้วนลงพุง WC > 90 ซม. ในเพศชาย และ > 80 ซม. ในเพศหญิงภาวะอ้วนBMI ≥ 30 (Obesity BMI ≥30)
  9. ปัสสาวะพบ microalbuminuria(30-300 มก./วัน)