กลุ่มที่ 1 ความเสี่ยงต่ำ
1550 คน
กลุ่มที่ 2 ความเสี่ยงปานกลาง
260 คน
กลุ่มที่ 3 ความเสี่ยงสูง
240 คน
กลุ่มที่ 4 มีโรคแทรกซ้อน
156 คน

จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ตำบล HT DM สัดส่วนกลุ่มเสี่ยง DM
บางมูลนาก
835
468
434
37
31
29
บางไผ่
61
40
30
1
2
6
หอไกร
564
298
249
47
41
18
เนินมะกอก
535
345
283
60
56
36
วังสำโรง
281
173
134
27
31
17
ภูมิ
171
115
92
23
27
15
วังกรด
184
90
72
19
12
5
ห้วยเขน
93
62
54
6
8
4
วังตะกู
265
173
152
31
29
21
ห้วยพุก
1
0
0
0
0
0
ลำประดา
140
59
50
9
3
5
ทะนง
0
0
1
0
0
0
รวม
3130
1823
1,551
260
240
156

1659

การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

1495

ภาวะแทรกซ้อนทางไต

1113

ภาวะแทรกซ้อนทางตา

1138

ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า

1761

โรคหัวใจและหลอดเลือด

นิยาม DM

คำจำกัดความ การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์การประเมินผู้ป่วย จังหวัดพิจิตร

  • ผู้ป่วยเบาหวานที่มีผล LAB HbA1c < 7 % และ CBS < 180 mg% (Capillary Blood Sugar)
  • MAU (Microalbuminuria) < 30 mg/d และ eGFR >= 60 ml/min/1.73 m²
  • อัตราการลดลงของ eGFR < 7 ml/min/1.73 m²/year
  • ผลการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา No DR (Diabetic retinopathy)
  • Protective sensation ปกติ, Peripheral pulse ปกติ, ไม่พบแผลที่เท้า
  • HT (BP < 140/90 mmHg), Dyslipidemia (LDL < 100 mg%)

นิยาม HT

คำจำกัดความ การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง ตามเกณฑ์การประเมินผู้ป่วย จังหวัดพิจิตร

  • ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มีความดัน SBP ตั้งแต่ 130-139 หรือ DBP ตั้งแต่ 85-89

ปัจจัยเสี่ยงอื่น HT

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk factor)

  1. ระดับของ pulse pressure > 60 มม.ปรอท
  2. อายุ > 55 ปี ในเพศชาย หรือ > 65 ปีในเพศหญิง
  3. สูบบุหรี่
  4. ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ total cholesterol > 200 มก./ดล., LDL-C > 130 มก./ดล.
  5. HDL-C < 40 มก./ดล. ในเพศชายหรือ < 50 มก./ดล. ในเพศหญิง หรือระดับ triglyceride > 150 มก./ดล. FPG 100-125 มก./ดล.
  6. OGTT ผิดปกติ
  7. ประวัติการเกิด CVD ในบิดา มารดา หรือพี่น้องก่อนวัยอันควร
  8. อ้วนลงพุง WC > 90 ซม. ในเพศชาย และ > 80 ซม. ในเพศหญิงภาวะอ้วนBMI ≥ 30 (Obesity BMI ≥30)
  9. ปัสสาวะพบ microalbuminuria(30-300 มก./วัน)